ID6
ชื่อนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดตียงในเขต ตำบลดอนตะโกอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ว/ด/ป2563-11-01
สถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรม1. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัว 2. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงไม่ให้เกิดแผลกดทับ หลังใช้นวัตกรรม 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเตียงในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์
กระบวนการนวัตกรรม1. ศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียง และอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ 2. นำเสนอวรรณกรรมที่ทำการศึกษา 3. ออกแบบนวัตกรรมช่วยพลิกตะแคงตัว และออกแบบชื่อนวัตกรรมเพื่อค้นหาทุนและวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 4. นำเสนอแก่อาจารย์ประจำกลุ่ม เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงเพิ่มเติม
ผลลัพธ์/การนำไปใช้.1 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ก่อน–หลังใช้นวัตกรรม - ก่อนให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ70 - หลังให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จากผู้ใช้งานจำนวน 1 คน พบว่า - พึงพอใจขนาด ลักษณะ ความสวยงาม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับมากที่สุด - พึงพอใจความทนทานใช้งานได้ต่อเนื่องในระดับมากที่สุด - พึงพอใจนวัตกรรมสามารถช่วยเหลือและลดแรงในขณะพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้ในระดับมาก - พึงพอใจนวัตกรรมเหมาะสมต่อการใช้งานผู้ป่วยติดเตียงในระดับมากที่สุด - พึงพอใจในภาพรวมนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก
อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์ ดร.นันทพร กลิ่นจันทร์
ผู้พัฒนานวัตกรรมชนกชนม์ เข็มดี พรอริยา ใจดี ฟิรดาว มุมินรุ่งเรืองเดช ปานหทัย หนกหลัง พารีณี แมะแอ ช่อฟ้า พานทอง
# ไฟล์
1 อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียงในเขต.pdf