Displaying 51-60 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
24สื่อสร้างสรรค์ สูงวัยแข็งแรง2564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
28สื่อออนไลน์รู้เท่าทันปัญหาความเครียด2564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
27สื่อเสริมสร้างความรู้การเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่ในมารดาหลังคลอด2564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
14หมอนรองท่อออกซิเจน2563-12-23ทั้งนี้ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม ได้มีนวัตกรรมที่พัฒนาร่วมกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 เมื่อปี 2560 คือ หมอนรองท่อ corrugated tube ซึ่งทำมาจากผ้า และขวดน้ำเกลือ และได้รับการใช้มาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ แต่ในปัจจุบันนี้นวัตกรรมดังกล่าว มีการชำรุดและเสื่อมสภาพไม่เหมาะกับการใช้งาน วัสดุเดิมทำมาจากผ้ามีความชื่้นเมื่อโดนน้ำอาจจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้ไม่น่าใช้งาน และมีจำนวนชิ้นไม่เพียงพอ ประยุกต์ใช้แนวคิด PDCA - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟลที่แนบView
23หมอนหลอดกลิ่นส้มทรงพลัง2564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
65หวานน้อย อยู่นาน2024-03-28View
20อาวุธวิเศษ ให้อัศวินมีความรู้ สู้โควิด-192564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
6อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดตียงในเขต ตำบลดอนตะโกอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช2563-11-011. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัว 2. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงไม่ให้เกิดแผลกดทับ หลังใช้นวัตกรรม 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเตียงในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 1. ศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียง และอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ 2. นำเสนอวรรณกรรมที่ทำการศึกษา 3. ออกแบบนวัตกรรมช่วยพลิกตะแคงตัว และออกแบบชื่อนวัตกรรมเพื่อค้นหาทุนและวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 4. นำเสนอแก่อาจารย์ประจำกลุ่ม เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงเพิ่มเติม .1 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ก่อน–หลังใช้นวัตกรรม - ก่อนให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ70 - หลังให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จากผู้ใช้งานจำนวน 1 คน พบว่า - พึงพอใจขนาด ลักษณะ ความสวยงาม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับมากที่สุด - พึงพอใจความทนทานใช้งานได้ต่อเนื่องในระดับมากที่สุด - พึงพอใจนวัตกรรมสามารถช่วยเหลือและลดแรงในขณะพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้ในระดับมาก - พึงพอใจนวัตกรรมเหมาะสมต่อการใช้งานผู้ป่วยติดเตียงในระดับมากที่สุด - พึงพอใจในภาพรวมนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก View
7อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง2563-11-11เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมสภาพตามวัย กล่าวคือ กล้ามเนื้อเหี่ยวลีบเนื่องจากขาดการใช้งาน กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากความแข็งแรงและความทนของกล้ามเนื้อลดลง ทำให้มีโอกาสลื่นหรือสะดุดได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุที่สำคัญในการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ นอกจากนี้พบว่าการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อเป็นสาเหตุที่สำคัญในการเพิ่มความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม (ฐิติมา ทาสุวรรณอินทร์, 2562.) หากเกิดการพลัดตกหกล้ม จะได้รับบาดเจ็บและการรักษาที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนานมากกว่าวัยอื่น ๆ ดังนั้นจึงได้คิดค้นและจัดทำนวัตกรรม “อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง (Muscle strong by myself)” ช่วยในการกระดกเท้าขึ้น-ลง ทำให้กล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กระดกขึ้น ได้แก่ tibialis anterior, extensor hallucis longus ,extensor digitorum longus, peroneus tertius และกล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กดปลายเท้าลง ได้แก่ peroneus longus, peroneus brevis, gastrocnemius, soleus, plantaris มีความแข็งแรงมากขึ้น ส่งผลให้ลดความเสี่ยงการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ โดยนวัตกรรมสามารถทำให้กระดกเท้าขึ้น-ลงได้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการยืดและหดกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่ายได้โดยการนำเอาวัสดุอุปกรณ์ที่มีต้นทุนต่ำมาใช้โดยใช้กระบวนการ Plan Do Check Action - ตามไฟล์ที่แนบประเมินด้านประสิทธิผล (Effectiveness) 1.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 80 1.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการใช้นวัตกรรม อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ร้อยละ 80 1.4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจนวัตกรรมที่ทางกลุ่มได้จัดทำขึ้น ร้อยละ 80 ประเมินด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิภาพ เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ มีการใช้งบประมาณทั้งหมด 1,000 บาท จากงบประมาณที่ได้ 1,000 บาท และผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 100View
56เครื่องเล่นมหัสจรรย์พิชิตอาการปวดเข่า เสริมสร้างความแข็งแรง2023-06-08ตามเอกสารแนบตามเอกสารแนบตามเอกสารแนบView