Displaying 11-20 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
69นวัตกรรมการดูแลจิตใจด้วยตนเอง โดยใช้ SATIR MODEL ผ่านทางสารสนเทศ2024-03-28View
70STOP SWEET FOR HEALTH2024-03-28View
13กล่องส่งเสริมพัฒนาการเด็ก2563-11-23สำหรับอุปกรณ์ในการฝึกพัฒนาการด้านต่างๆของทางโรงพยาบาลและรพ.สต. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับทดสอบเมื่อผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจพัฒนาการเท่านั้น ซึ่งอุปกรณ์ที่สามารถให้ผู้ปกครองนำไปฝึกและกระตุ้นพัฒนาการสำหรับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ายังมีไม่เพียงพอที่จะให้ผู้ปกครองได้นำกลับไปใช้ หรือมีตัวอย่างที่ให้ผู้ปกครองได้นำไปประยุกต์ใช้เองที่บ้าน จึงทำให้เด็กกลุ่มนี้ถูกละเลยการกระตุ้นพัฒนาการจากทางบ้านเนื่องจากไม่มีอุปกรณ์ ทางกลุ่มจึงเห็นความสำคัญของการกระตุ้นพัฒนาการต่อเนื่องที่บ้านโดยออกแบบอุปกรณ์สำหรับการฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เพื่อให้มีกล้ามเนื้อมัดใหญ่มีความแข็งแรงทำงานได้อย่างสัมพันธ์กัน ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย มีสุขนิสัยที่ดี เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ เกิดความสามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตประจำวันได้เต็มศักยภาพ นอกจากนี้ยังเพื่อใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กในคลินิก และเพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำไปกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่บ้านในรายที่สงสัยว่ามีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ล่าช้า ก่อนจะนัดมาประเมินพัฒนาการซ้ำอีก 1 เดือน หลังจากนำนวัตกรรมให้ผู้ปกครองนำไปกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่บ้าน - ตามไฟล์ที่แนบ - ตามไฟล์ที่แนบView
2แผ่นรองรับน้ำจากการสระผมผู้ป่วยบนเตียง2563-10-31เพื่อแก้ไข ปัญหาภาระงานของพยาบาล ลดระยะเวลาการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้น้อยลงเพิ่มความสะดวกในการสระผมให้ผู้ป่วย ลดการใช้เวลาในการเตรียมอุปกรณ์ และ เพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย1. การสำรวจปัญหาและอุบัติการที่เกิดขึ้น สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. วางแผนรูปแบบจัดทำนวัตกรรม 3. จัดซื้ออุปกรณ์ในการทำนวัตกรรม จัดทำนวัตกรรม 4. นำนวัตกรรมไปทดลองใช้และปรับปรุง 5. ประเมินคุณภาพของนวัตกรรม 6. ประเมินความพึงพอใจของการใช้นวัตกรรม1. ลดความซับซ้อนในการจัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดหนังศรีษะผู้ป่วยได้ดีมาก 2. เพิ่มความสะดวกในการทำความสะอาดหนังศรีษะผู้ป่วย 3. ลดอุบัติเหตุระหว่างการสระผมดีมาก 4. ลดระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนในการสระผมดีมาก 5. ญาติผู้ป่วย พยาบาลพึงพอใจต่อนวัตกรรมดีมากView
1ถุงเท้ากันน้ำ ป้องกันการติดเชื้อของแผลในผู้ป่วยเบาหวาน2563-10-31จากการศึกษาค้นคว้างานวิชาการที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าส่วนใหญ่มีการติดเชื้อจนส่งผลให้มีการตัดขาตามมา ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการดูแลแผลที่ไม่เหมาะสม และจากการได้ลงฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนในหมู่ 11 ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช1. ประชุมวางแผน หารือแนวทางการดำเนินการ 2. ประสานผู้นำชุมชนในการทำเวทีประชาคมผู้ป่วยเบาหวานทุคนที่ยังไม่เกิดแผลที่เท้าใช้นวัตกรรมถุงเท้ากันน้ำแล้วไม่เกิดแผลที่เท้า ผู้เข้าร่วมโครงงานมีความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมในการดูแลเท้าเพื่อป้องกันแผลและ แผลติดเชื้อ ร้อยละ 100View
6อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดตียงในเขต ตำบลดอนตะโกอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช2563-11-011. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัว 2. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงไม่ให้เกิดแผลกดทับ หลังใช้นวัตกรรม 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเตียงในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 1. ศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียง และอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ 2. นำเสนอวรรณกรรมที่ทำการศึกษา 3. ออกแบบนวัตกรรมช่วยพลิกตะแคงตัว และออกแบบชื่อนวัตกรรมเพื่อค้นหาทุนและวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 4. นำเสนอแก่อาจารย์ประจำกลุ่ม เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงเพิ่มเติม .1 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ก่อน–หลังใช้นวัตกรรม - ก่อนให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ70 - หลังให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จากผู้ใช้งานจำนวน 1 คน พบว่า - พึงพอใจขนาด ลักษณะ ความสวยงาม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับมากที่สุด - พึงพอใจความทนทานใช้งานได้ต่อเนื่องในระดับมากที่สุด - พึงพอใจนวัตกรรมสามารถช่วยเหลือและลดแรงในขณะพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้ในระดับมาก - พึงพอใจนวัตกรรมเหมาะสมต่อการใช้งานผู้ป่วยติดเตียงในระดับมากที่สุด - พึงพอใจในภาพรวมนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก View
3โปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกบ้านทุ่งชน " 3ท 3 ป พิชิตไข้เลือดออก"2563-10-31ทางคณะผู้จัดทำโครงงานจึงเห็นถึงความสำคัญมาตรการป้องกันและควบคุมโรคจึงเกิดนวัตกรรม เพื่อกำจัดแหล่งพพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออก โดยอ้างอิงตามบริบทของพื้นที่ที่ได้ลงสำรวจ จึงเกิดนวัตกรรม “ โปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกบ้านทุ่งชน ” ขึ้นกิจกรรมขั้นวางแผน (Plan) กิจกรรมขั้นการดำเนินการ (DO) กิจกรรมประเมินผล (Check) แนวทางการนำผลการประเมินมาพัฒนา (Act)ข้อที่1: เกิดนวัตกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ผลการประเมิน: เกิดนวัตกรรม “โปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกบ้านทุ่งชน” ข้อที่2: เกิดประสิทธิผลในการใช้ “โปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกบ้านทุ่งชน” ร้อยละ 80 ผลการประเมิน: เกิดประสิทธิผลในการใช้ “โปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกบ้านทุ่งชน” ข้อที่3: เกิดความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมในระดับมากที่สุดร้อยละ 80 ผลการประเมิน:เกิดความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมในระดับมากที่สุดร้อยละ 80 View
8กระเป๋ากันลืม2563-11-11จากการศึกษาพบว่า การใช้รูปแบบการติดตามการกินยาของผู้สูงอายุโรคเบาหวานด้วย “ปฏิทินยา เบาหวาน” ทำให้ผู้สูงอายุ สามารถรับประทานยาได้ถูกต้อง คือ ถูกขนาด ถูกเวลา ได้รับยาครบตามแผนการ รักษาของแพทย์ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ปฏิทินยาเบาหวาน มีความพึงพอใจในระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91 อย่างไรก็ตาม ปฏิทินยาเบาหวานยังมีข้อเสนอแนะที่สามารถนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้นดังนี้ โดยนำ ตัวเลขและสัญลักษณ์รูปภาพใหม่ พร้อมขนาดตัวอักษรที่ใหญ่ขึ้น แสดงมื้อของการรับประทานยาของผู้ป่วย (เช้า- กลางวัน-เย็น-ก่อนนอน) มาปรับใช้บนฉลากยา เพิ่มความเข้าใจมากยิ่งขึ้น และเลือกใช้สีพื้นหลัง ฉลากยาให้มองเห็นได้ชัดเจนขึ้น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นทางคณะผู้จัดทำจึงเห็นความสำคัญของการรับประทานอย่างมีประสิทธิภาพ คือตรงตามแผนการรักษา จึง ได้คิดค้นนวัตกรรม กระเป๋ายากันลืม เพื่อให้การรับประทานยาโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการดำเนินงาน PDCA - ตามไฟล์ที่แนบตามไฟล์ที่แนบView
15Easy Pain Assessment Scale2563-11-18ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView
18เว็บไซต์ เพื่อนใกล้ใจ2564-11-01ตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบตามรายงานที่แนบView