Displaying 61-69 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
9แผ่นรองเท้าลดแรงกดทับบริเวณแผลที่ผ่าเท้า2563-11-01จากการทบทวนวรรณกรรมโดยนำแนวคิดการลดแรงกดแผลเท้าเบาหวานโดยการใช้ฟองน้ำล้างจานของอาจารย์ชยพล ศิรินิยมชัย เห็นได้ว่าฟองน้ำมีส่วนช่วยในการหายของแผล และจากงานวิจัยของวีณา ศรีสำราญ พบว่าการใช้หลักการลดแรงกดที่แผล ทำให้แผลไม่รับน้ำหนักขณะเดินหรือการทำให้แผลทำให้แผลลอยพ้นพื้นขณะเดินโดยเว้นช่องบริเวณแผลจากการเจาะรู ทำให้แผลมีโอกาสฟื้นตัว การใส่รองเท้าลดแรงกดที่หาได้ง่าย ขั้นตอนการเจาะรูไม่ยุ่งยาก สามารถใช้ได้ง่าย สะดวก และมีราคาถูก ซึ่งวัสดุเหล่านี้จะช่วยให้แผลไม่ถูกกดทับและนำไปสู่การหายของแผล (วีณา ศรีสำราญ, 2557) ทางกลุ่มจึงได้เลือกใช้ฟองน้ำและโฟมมาเป็นวัสดุในการลดแรงกดทับบริเวณแผลที่ฝ่าเท้าตามไฟล์ที่แนบตามไฟล์ที่แนบView
14หมอนรองท่อออกซิเจน2563-12-23ทั้งนี้ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม ได้มีนวัตกรรมที่พัฒนาร่วมกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 เมื่อปี 2560 คือ หมอนรองท่อ corrugated tube ซึ่งทำมาจากผ้า และขวดน้ำเกลือ และได้รับการใช้มาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ แต่ในปัจจุบันนี้นวัตกรรมดังกล่าว มีการชำรุดและเสื่อมสภาพไม่เหมาะกับการใช้งาน วัสดุเดิมทำมาจากผ้ามีความชื่้นเมื่อโดนน้ำอาจจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้ไม่น่าใช้งาน และมีจำนวนชิ้นไม่เพียงพอ ประยุกต์ใช้แนวคิด PDCA - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟลที่แนบView
10นาฬิกากันลืม2563-11-23ทางกลุ่มได้มีการลงสำรวจโดยการสัมภาษณ์จำนวน 11 คนที่ รพ.สต. บ้านทุ่งโหนด รพ.สต. หัวเหมืองทะเล รพ.ต.ปากพูน โรงพยาบาลเทศบาลนครศรีธรรมราช และได้มีการลงสำรวจในหมู่บ้านคลองเกราะ ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จำนวน 93 ครัวเรือน พบจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา จำนวน 50 คน ได้แก่ ชาย 12 คน หญิง 38 คน อายุ 0-18 ปี ใช้ยา ร้อยละ 4 , 19-45 ปี ร้อยละ 2 , 46-59 ปี ร้อยละ 22 , 60-69 ปี ร้อยละ 30 , 70-79 ปี ร้อยละ 38 และมากกว่า 80 ปี ร้อยละ 4 ผู้ป่วยที่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 96 ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 4 ส่วนใหญ่รับยาที่โรงพยาบาลท่าศาลา ร้อยละ 68 ส่วนใหญ่ใช้ยา 1-2 ชนิด ร้อยละ 52 กินยาตรงเวลา ร้อยละ 84 หยุดยาเอง ร้อยละ 12 ใช้ยาครบ ร้อยละ 88 จัดยาเองส่วนใหญ่ ร้อยละ 92 ซื้อยากินเอง ร้อยละ 36 ใช้ยาสมุนไพร ร้อยละ 26 และส่วนใหญ่ดูวันหมดอายุของยา ร้อยละ 70 รับประทานยาไม่ตรงเวลา ร้อยละ 16.0 รับประทานยาไม่ครบ ร้อยละ 22 จากการรับประทานยาไม่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังไม่สามารถควบคุมการดำเนินของโรคได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ หรืออาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ จากการศึกษาช่องว่างดังกล่าวทางกลุ่มได้คิดค้นนวัตกรรมที่มีชื่อว่า นาฬิกากันลืม (Medicines Clock) เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ยาถูกขนาด ถูกเวลา ถูกชนิด และถูกวิธี ประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
1160 ก็ไม่ล้ม...ยั่งยืนด้วยยางยืด2563-11-23จากข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้า ทางกลุ่มจึงมีความสนใจที่จะพัฒนานวัตกรรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่มีปัญหาการทรงตัว “60 ก็ไม่ล้ม... ยั่งยืนด้วยยางยืด” โดยมีการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และมีรูปภาพท่าทางประกอบเพื่อช่วยในการจดจำและมีการประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม รวมทั้งการพัฒนาผู้สูงอายุเพื่อเป็นแกนนำในการทำกิจกรรมการออกกำลังกายด้านการทรงตัวที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยในผู้สูงอายุประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
37"เป่าโป่ง บริหารปอด"2023-06-08รายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบView
45กลิ้งกลิ้ง ขยับนวด2023-06-08รายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบView
7อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง2563-11-11เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมสภาพตามวัย กล่าวคือ กล้ามเนื้อเหี่ยวลีบเนื่องจากขาดการใช้งาน กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากความแข็งแรงและความทนของกล้ามเนื้อลดลง ทำให้มีโอกาสลื่นหรือสะดุดได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุที่สำคัญในการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ นอกจากนี้พบว่าการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อเป็นสาเหตุที่สำคัญในการเพิ่มความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม (ฐิติมา ทาสุวรรณอินทร์, 2562.) หากเกิดการพลัดตกหกล้ม จะได้รับบาดเจ็บและการรักษาที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนานมากกว่าวัยอื่น ๆ ดังนั้นจึงได้คิดค้นและจัดทำนวัตกรรม “อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง (Muscle strong by myself)” ช่วยในการกระดกเท้าขึ้น-ลง ทำให้กล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กระดกขึ้น ได้แก่ tibialis anterior, extensor hallucis longus ,extensor digitorum longus, peroneus tertius และกล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กดปลายเท้าลง ได้แก่ peroneus longus, peroneus brevis, gastrocnemius, soleus, plantaris มีความแข็งแรงมากขึ้น ส่งผลให้ลดความเสี่ยงการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ โดยนวัตกรรมสามารถทำให้กระดกเท้าขึ้น-ลงได้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการยืดและหดกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่ายได้โดยการนำเอาวัสดุอุปกรณ์ที่มีต้นทุนต่ำมาใช้โดยใช้กระบวนการ Plan Do Check Action - ตามไฟล์ที่แนบประเมินด้านประสิทธิผล (Effectiveness) 1.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 80 1.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการใช้นวัตกรรม อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ร้อยละ 80 1.4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจนวัตกรรมที่ทางกลุ่มได้จัดทำขึ้น ร้อยละ 80 ประเมินด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิภาพ เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ มีการใช้งบประมาณทั้งหมด 1,000 บาท จากงบประมาณที่ได้ 1,000 บาท และผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 100View
16For your ears For your comfort2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCAView
17Luke มา Dance2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCA-ตามรายงานที่แนบView