Displaying 1-10 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
16For your ears For your comfort2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCAView
17Luke มา Dance2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCA-ตามรายงานที่แนบView
7อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง2563-11-11เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมสภาพตามวัย กล่าวคือ กล้ามเนื้อเหี่ยวลีบเนื่องจากขาดการใช้งาน กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากความแข็งแรงและความทนของกล้ามเนื้อลดลง ทำให้มีโอกาสลื่นหรือสะดุดได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุที่สำคัญในการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ นอกจากนี้พบว่าการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อเป็นสาเหตุที่สำคัญในการเพิ่มความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม (ฐิติมา ทาสุวรรณอินทร์, 2562.) หากเกิดการพลัดตกหกล้ม จะได้รับบาดเจ็บและการรักษาที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนานมากกว่าวัยอื่น ๆ ดังนั้นจึงได้คิดค้นและจัดทำนวัตกรรม “อุปกรณ์บริหารกล้ามเนื้อแข็งแรงด้วยตัวเอง (Muscle strong by myself)” ช่วยในการกระดกเท้าขึ้น-ลง ทำให้กล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กระดกขึ้น ได้แก่ tibialis anterior, extensor hallucis longus ,extensor digitorum longus, peroneus tertius และกล้ามเนื้อที่มีหน้าที่กดปลายเท้าลง ได้แก่ peroneus longus, peroneus brevis, gastrocnemius, soleus, plantaris มีความแข็งแรงมากขึ้น ส่งผลให้ลดความเสี่ยงการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ โดยนวัตกรรมสามารถทำให้กระดกเท้าขึ้น-ลงได้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการยืดและหดกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่ายได้โดยการนำเอาวัสดุอุปกรณ์ที่มีต้นทุนต่ำมาใช้โดยใช้กระบวนการ Plan Do Check Action - ตามไฟล์ที่แนบประเมินด้านประสิทธิผล (Effectiveness) 1.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายไม่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 80 1.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการใช้นวัตกรรม อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ร้อยละ 80 1.4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจนวัตกรรมที่ทางกลุ่มได้จัดทำขึ้น ร้อยละ 80 ประเมินด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิภาพ เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ มีการใช้งบประมาณทั้งหมด 1,000 บาท จากงบประมาณที่ได้ 1,000 บาท และผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 100View
37"เป่าโป่ง บริหารปอด"2023-06-08รายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบView
45กลิ้งกลิ้ง ขยับนวด2023-06-08รายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบรายละเอียดตามเอกสารแนบView
10นาฬิกากันลืม2563-11-23ทางกลุ่มได้มีการลงสำรวจโดยการสัมภาษณ์จำนวน 11 คนที่ รพ.สต. บ้านทุ่งโหนด รพ.สต. หัวเหมืองทะเล รพ.ต.ปากพูน โรงพยาบาลเทศบาลนครศรีธรรมราช และได้มีการลงสำรวจในหมู่บ้านคลองเกราะ ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จำนวน 93 ครัวเรือน พบจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา จำนวน 50 คน ได้แก่ ชาย 12 คน หญิง 38 คน อายุ 0-18 ปี ใช้ยา ร้อยละ 4 , 19-45 ปี ร้อยละ 2 , 46-59 ปี ร้อยละ 22 , 60-69 ปี ร้อยละ 30 , 70-79 ปี ร้อยละ 38 และมากกว่า 80 ปี ร้อยละ 4 ผู้ป่วยที่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 96 ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 4 ส่วนใหญ่รับยาที่โรงพยาบาลท่าศาลา ร้อยละ 68 ส่วนใหญ่ใช้ยา 1-2 ชนิด ร้อยละ 52 กินยาตรงเวลา ร้อยละ 84 หยุดยาเอง ร้อยละ 12 ใช้ยาครบ ร้อยละ 88 จัดยาเองส่วนใหญ่ ร้อยละ 92 ซื้อยากินเอง ร้อยละ 36 ใช้ยาสมุนไพร ร้อยละ 26 และส่วนใหญ่ดูวันหมดอายุของยา ร้อยละ 70 รับประทานยาไม่ตรงเวลา ร้อยละ 16.0 รับประทานยาไม่ครบ ร้อยละ 22 จากการรับประทานยาไม่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังไม่สามารถควบคุมการดำเนินของโรคได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ หรืออาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ จากการศึกษาช่องว่างดังกล่าวทางกลุ่มได้คิดค้นนวัตกรรมที่มีชื่อว่า นาฬิกากันลืม (Medicines Clock) เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ยาถูกขนาด ถูกเวลา ถูกชนิด และถูกวิธี ประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
1160 ก็ไม่ล้ม...ยั่งยืนด้วยยางยืด2563-11-23จากข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้า ทางกลุ่มจึงมีความสนใจที่จะพัฒนานวัตกรรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่มีปัญหาการทรงตัว “60 ก็ไม่ล้ม... ยั่งยืนด้วยยางยืด” โดยมีการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และมีรูปภาพท่าทางประกอบเพื่อช่วยในการจดจำและมีการประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม รวมทั้งการพัฒนาผู้สูงอายุเพื่อเป็นแกนนำในการทำกิจกรรมการออกกำลังกายด้านการทรงตัวที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยในผู้สูงอายุประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
14หมอนรองท่อออกซิเจน2563-12-23ทั้งนี้ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม ได้มีนวัตกรรมที่พัฒนาร่วมกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 เมื่อปี 2560 คือ หมอนรองท่อ corrugated tube ซึ่งทำมาจากผ้า และขวดน้ำเกลือ และได้รับการใช้มาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ แต่ในปัจจุบันนี้นวัตกรรมดังกล่าว มีการชำรุดและเสื่อมสภาพไม่เหมาะกับการใช้งาน วัสดุเดิมทำมาจากผ้ามีความชื่้นเมื่อโดนน้ำอาจจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้ไม่น่าใช้งาน และมีจำนวนชิ้นไม่เพียงพอ ประยุกต์ใช้แนวคิด PDCA - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟลที่แนบView
4Green bean ประคบร้อน ผ่อนคลาย สลายปวด2563-11-11จากการลงสำรวจข้อมูลของชุมชนลุ่มนา หมู่ที่ 8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ประชาชนในพื้นที่มีอาการปวดเมื่อยร้อยละ 2.83 ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากท่าทางการประกอบอาชีพที่ไม่เหมาะสม และส่วนใหญ่เป็นผู้สุงอายุที่มีอาการปวดเมื่อยตามวัย จากเหตุผลดังกล่าวนักศึกษาจึงได้พัฒนานวัตกรรม “Green bean ประคบร้อน ผ่อนคลาย สลายปวด” ขึ้น โดยเน้นการนวด ประคบร้อนเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ร่วมกับการใช้กลิ่นบำบัดกดจุด และยังเพิ่มความสะดวกต่อการใช้ โดยผู้ป่วยสามารถใช้ชิ้นงานบรรเทาอาการปวดเมื่อยในขณะปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ สามารถใช้ได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ผลิตได้ง่ายเนื่องจากเน้นการใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่น รวมถึงลดข้อจำกัดในการใช้อุปกรณ์นำความร้อนจากการใช้เตาอบไมโครเวฟเพียงอย่างเดียว มาเป็นการคั่วเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงของคนในชุมชนตามไฟล์ที่แนบปัจจัยความสําเร็จ ปัญหา/อุปสรรค พร้อมแนวทางแก้ไข ปัจจัยความสำเร็จ คือ ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกในกลุ่มในการทำชิ้นงาน และคำแนะนำในการปรับปรุงนวัตกรรมจากกลุ่มเป้าหมาย ปัญหา/อุปสรรค คือ สภาพอากาศไม่อำนวย ระยะเวลาในการทำชิ้นงาน การนำไปใช้ และการพัฒนาชิ้นงานไม่ต่อเนื่องกัน การแก้ไข กระชับเวลาในการทำกิจกรรม ผลการประเมินจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการใช้นวัตกรรมบรรเทาอาการปวดเมื่อย - เจ้าหน้าที่ “ใช้แล้วรู้สึกอุปกรณ์หาง่าย ทำได้สะดวก สามารถใช้ได้จริง ๆ อาการปวดลดลง” - กลุ่มเป้าหมาย “รู้สึกผ่อนคลาย สบาย รู้ปวดเมื่อยลดน้อยลง” “รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น ใช้แล้วทำกิจวัตรประจำวันได้” “ใส่แล้วทำงานได้ ความร้อนกำลังอุ่นพอดี” View
5เบาะขนมปัง กดจุดบรรเทาปวด2563-10-11จากการทบทวนวรรณกรรม จึงพบเห็นปัญหาที่สำคัญของผู้สูงอายุอย่างหนึ่งคือปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ที่อาจเกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้การทำงานและระบบต่างๆเสื่อมประสิทธิภาพลง การทำงานหนัก หรือการยกของหนัก ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการปวดมเอยกล้ามเนื้อ และจากภาวะดังกล่าวที่เกิดจากความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ที่เกิดขึ้นได้ทุกกลุ่มอายุและกลุ่มวัย อาจส่งผลให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ และด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน มีบุคลิกภาพที่เปลี่ยนไป ทำให้มีอาการชาหรืออ่อนแรงของขา และอาจสงผลตอภาวะจิตใจ กอใหเกิดภาวะเครียด หงุดหงิดจากอาการปวด และอาจกอใหเกิดโรคเรื้อรังที่จะตามมาจากอาการปวดหลังได้ ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้คิดค้นนวัตกรรมที่มีเชื่อว่า “เบาะขนมปัง กดจุดบรรเทาปวด”ตามไฟล์ที่แนบ1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงภายใน 2 สัปดาห์ ประสิทธิผล = ผลการปฏิบัติจริง x 100 / เป้าหมาย = 100 x 100 / 80 = 125 % 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมในระดับดีขึ้นไป ประสิทธิผล = ผลการปฏิบัติจริง x 100 / เป้าหมาย = 100 x 100 / 80 = 125 % View