Displaying 51-60 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
6อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดตียงในเขต ตำบลดอนตะโกอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช2563-11-011. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัว 2. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงไม่ให้เกิดแผลกดทับ หลังใช้นวัตกรรม 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเตียงในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 1. ศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียง และอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ 2. นำเสนอวรรณกรรมที่ทำการศึกษา 3. ออกแบบนวัตกรรมช่วยพลิกตะแคงตัว และออกแบบชื่อนวัตกรรมเพื่อค้นหาทุนและวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 4. นำเสนอแก่อาจารย์ประจำกลุ่ม เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงเพิ่มเติม .1 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ก่อน–หลังใช้นวัตกรรม - ก่อนให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ70 - หลังให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จากผู้ใช้งานจำนวน 1 คน พบว่า - พึงพอใจขนาด ลักษณะ ความสวยงาม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับมากที่สุด - พึงพอใจความทนทานใช้งานได้ต่อเนื่องในระดับมากที่สุด - พึงพอใจนวัตกรรมสามารถช่วยเหลือและลดแรงในขณะพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้ในระดับมาก - พึงพอใจนวัตกรรมเหมาะสมต่อการใช้งานผู้ป่วยติดเตียงในระดับมากที่สุด - พึงพอใจในภาพรวมนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก View
17Luke มา Dance2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCA-ตามรายงานที่แนบView
10นาฬิกากันลืม2563-11-23ทางกลุ่มได้มีการลงสำรวจโดยการสัมภาษณ์จำนวน 11 คนที่ รพ.สต. บ้านทุ่งโหนด รพ.สต. หัวเหมืองทะเล รพ.ต.ปากพูน โรงพยาบาลเทศบาลนครศรีธรรมราช และได้มีการลงสำรวจในหมู่บ้านคลองเกราะ ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จำนวน 93 ครัวเรือน พบจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ใช้ยา จำนวน 50 คน ได้แก่ ชาย 12 คน หญิง 38 คน อายุ 0-18 ปี ใช้ยา ร้อยละ 4 , 19-45 ปี ร้อยละ 2 , 46-59 ปี ร้อยละ 22 , 60-69 ปี ร้อยละ 30 , 70-79 ปี ร้อยละ 38 และมากกว่า 80 ปี ร้อยละ 4 ผู้ป่วยที่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 96 ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ร้อยละ 4 ส่วนใหญ่รับยาที่โรงพยาบาลท่าศาลา ร้อยละ 68 ส่วนใหญ่ใช้ยา 1-2 ชนิด ร้อยละ 52 กินยาตรงเวลา ร้อยละ 84 หยุดยาเอง ร้อยละ 12 ใช้ยาครบ ร้อยละ 88 จัดยาเองส่วนใหญ่ ร้อยละ 92 ซื้อยากินเอง ร้อยละ 36 ใช้ยาสมุนไพร ร้อยละ 26 และส่วนใหญ่ดูวันหมดอายุของยา ร้อยละ 70 รับประทานยาไม่ตรงเวลา ร้อยละ 16.0 รับประทานยาไม่ครบ ร้อยละ 22 จากการรับประทานยาไม่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังไม่สามารถควบคุมการดำเนินของโรคได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ หรืออาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ จากการศึกษาช่องว่างดังกล่าวทางกลุ่มได้คิดค้นนวัตกรรมที่มีชื่อว่า นาฬิกากันลืม (Medicines Clock) เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ยาถูกขนาด ถูกเวลา ถูกชนิด และถูกวิธี ประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
1160 ก็ไม่ล้ม...ยั่งยืนด้วยยางยืด2563-11-23จากข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้า ทางกลุ่มจึงมีความสนใจที่จะพัฒนานวัตกรรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่มีปัญหาการทรงตัว “60 ก็ไม่ล้ม... ยั่งยืนด้วยยางยืด” โดยมีการส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และมีรูปภาพท่าทางประกอบเพื่อช่วยในการจดจำและมีการประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม รวมทั้งการพัฒนาผู้สูงอายุเพื่อเป็นแกนนำในการทำกิจกรรมการออกกำลังกายด้านการทรงตัวที่เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วยในผู้สูงอายุประยุกต์ใช้แนวคิด Plan Do Check Act : PDCA) ของนวัตกรรม - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟล์ที่แนบView
14หมอนรองท่อออกซิเจน2563-12-23ทั้งนี้ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม ได้มีนวัตกรรมที่พัฒนาร่วมกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 เมื่อปี 2560 คือ หมอนรองท่อ corrugated tube ซึ่งทำมาจากผ้า และขวดน้ำเกลือ และได้รับการใช้มาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ แต่ในปัจจุบันนี้นวัตกรรมดังกล่าว มีการชำรุดและเสื่อมสภาพไม่เหมาะกับการใช้งาน วัสดุเดิมทำมาจากผ้ามีความชื่้นเมื่อโดนน้ำอาจจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ทำให้ไม่น่าใช้งาน และมีจำนวนชิ้นไม่เพียงพอ ประยุกต์ใช้แนวคิด PDCA - ตามไฟล์ที่แนบ- ตามไฟลที่แนบView
13กล่องส่งเสริมพัฒนาการเด็ก2563-11-23สำหรับอุปกรณ์ในการฝึกพัฒนาการด้านต่างๆของทางโรงพยาบาลและรพ.สต. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับทดสอบเมื่อผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจพัฒนาการเท่านั้น ซึ่งอุปกรณ์ที่สามารถให้ผู้ปกครองนำไปฝึกและกระตุ้นพัฒนาการสำหรับเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ายังมีไม่เพียงพอที่จะให้ผู้ปกครองได้นำกลับไปใช้ หรือมีตัวอย่างที่ให้ผู้ปกครองได้นำไปประยุกต์ใช้เองที่บ้าน จึงทำให้เด็กกลุ่มนี้ถูกละเลยการกระตุ้นพัฒนาการจากทางบ้านเนื่องจากไม่มีอุปกรณ์ ทางกลุ่มจึงเห็นความสำคัญของการกระตุ้นพัฒนาการต่อเนื่องที่บ้านโดยออกแบบอุปกรณ์สำหรับการฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เพื่อให้มีกล้ามเนื้อมัดใหญ่มีความแข็งแรงทำงานได้อย่างสัมพันธ์กัน ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย มีสุขนิสัยที่ดี เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ เกิดความสามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตประจำวันได้เต็มศักยภาพ นอกจากนี้ยังเพื่อใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กในคลินิก และเพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำไปกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่บ้านในรายที่สงสัยว่ามีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ล่าช้า ก่อนจะนัดมาประเมินพัฒนาการซ้ำอีก 1 เดือน หลังจากนำนวัตกรรมให้ผู้ปกครองนำไปกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่บ้าน - ตามไฟล์ที่แนบ - ตามไฟล์ที่แนบView
16For your ears For your comfort2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCAView
59The Buddy Carelnnovation on Assessment of Diabetic Foot2024-01-28View
60เครื่องแจ้งเตือนให้นมบุตร2024-03-28View
61TC HERBAL PATCH2024-03-28View