Displaying 11-20 of 69 results.
IDชื่อนวัตกรรมว/ด/ปสถานการณ์หรือปัญหาที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการนวัตกรรมผลลัพธ์/การนำไปใช้ 
69นวัตกรรมการดูแลจิตใจด้วยตนเอง โดยใช้ SATIR MODEL ผ่านทางสารสนเทศ2024-03-28View
70STOP SWEET FOR HEALTH2024-03-28View
16For your ears For your comfort2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCAView
17Luke มา Dance2564-11-01-ตามรายงานที่แนบใช้กระบวนการ PDCA-ตามรายงานที่แนบView
6อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดตียงในเขต ตำบลดอนตะโกอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช2563-11-011. เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัว 2. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงไม่ให้เกิดแผลกดทับ หลังใช้นวัตกรรม 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยติดเตียงในการใช้อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยที่นอนติดเตียงหลังจากใช้อุปกรณ์ 1. ศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียง และอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ 2. นำเสนอวรรณกรรมที่ทำการศึกษา 3. ออกแบบนวัตกรรมช่วยพลิกตะแคงตัว และออกแบบชื่อนวัตกรรมเพื่อค้นหาทุนและวัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม 4. นำเสนอแก่อาจารย์ประจำกลุ่ม เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงเพิ่มเติม .1 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม อุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ก่อน–หลังใช้นวัตกรรม - ก่อนให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ70 - หลังให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยผู้ดูแลพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียง ผู้ดูแลทำแบบทดสอบได้คะแนน 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม จากผู้ใช้งานจำนวน 1 คน พบว่า - พึงพอใจขนาด ลักษณะ ความสวยงาม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในระดับมากที่สุด - พึงพอใจความทนทานใช้งานได้ต่อเนื่องในระดับมากที่สุด - พึงพอใจนวัตกรรมสามารถช่วยเหลือและลดแรงในขณะพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้ในระดับมาก - พึงพอใจนวัตกรรมเหมาะสมต่อการใช้งานผู้ป่วยติดเตียงในระดับมากที่สุด - พึงพอใจในภาพรวมนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นในระดับมาก View
5เบาะขนมปัง กดจุดบรรเทาปวด2563-10-11จากการทบทวนวรรณกรรม จึงพบเห็นปัญหาที่สำคัญของผู้สูงอายุอย่างหนึ่งคือปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ที่อาจเกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้การทำงานและระบบต่างๆเสื่อมประสิทธิภาพลง การทำงานหนัก หรือการยกของหนัก ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการปวดมเอยกล้ามเนื้อ และจากภาวะดังกล่าวที่เกิดจากความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ที่เกิดขึ้นได้ทุกกลุ่มอายุและกลุ่มวัย อาจส่งผลให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ และด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน มีบุคลิกภาพที่เปลี่ยนไป ทำให้มีอาการชาหรืออ่อนแรงของขา และอาจสงผลตอภาวะจิตใจ กอใหเกิดภาวะเครียด หงุดหงิดจากอาการปวด และอาจกอใหเกิดโรคเรื้อรังที่จะตามมาจากอาการปวดหลังได้ ดังนั้นทางกลุ่มจึงได้คิดค้นนวัตกรรมที่มีเชื่อว่า “เบาะขนมปัง กดจุดบรรเทาปวด”ตามไฟล์ที่แนบ1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลงภายใน 2 สัปดาห์ ประสิทธิผล = ผลการปฏิบัติจริง x 100 / เป้าหมาย = 100 x 100 / 80 = 125 % 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมในระดับดีขึ้นไป ประสิทธิผล = ผลการปฏิบัติจริง x 100 / เป้าหมาย = 100 x 100 / 80 = 125 % View
9แผ่นรองเท้าลดแรงกดทับบริเวณแผลที่ผ่าเท้า2563-11-01จากการทบทวนวรรณกรรมโดยนำแนวคิดการลดแรงกดแผลเท้าเบาหวานโดยการใช้ฟองน้ำล้างจานของอาจารย์ชยพล ศิรินิยมชัย เห็นได้ว่าฟองน้ำมีส่วนช่วยในการหายของแผล และจากงานวิจัยของวีณา ศรีสำราญ พบว่าการใช้หลักการลดแรงกดที่แผล ทำให้แผลไม่รับน้ำหนักขณะเดินหรือการทำให้แผลทำให้แผลลอยพ้นพื้นขณะเดินโดยเว้นช่องบริเวณแผลจากการเจาะรู ทำให้แผลมีโอกาสฟื้นตัว การใส่รองเท้าลดแรงกดที่หาได้ง่าย ขั้นตอนการเจาะรูไม่ยุ่งยาก สามารถใช้ได้ง่าย สะดวก และมีราคาถูก ซึ่งวัสดุเหล่านี้จะช่วยให้แผลไม่ถูกกดทับและนำไปสู่การหายของแผล (วีณา ศรีสำราญ, 2557) ทางกลุ่มจึงได้เลือกใช้ฟองน้ำและโฟมมาเป็นวัสดุในการลดแรงกดทับบริเวณแผลที่ฝ่าเท้าตามไฟล์ที่แนบตามไฟล์ที่แนบView
4Green bean ประคบร้อน ผ่อนคลาย สลายปวด2563-11-11จากการลงสำรวจข้อมูลของชุมชนลุ่มนา หมู่ที่ 8 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ประชาชนในพื้นที่มีอาการปวดเมื่อยร้อยละ 2.83 ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากท่าทางการประกอบอาชีพที่ไม่เหมาะสม และส่วนใหญ่เป็นผู้สุงอายุที่มีอาการปวดเมื่อยตามวัย จากเหตุผลดังกล่าวนักศึกษาจึงได้พัฒนานวัตกรรม “Green bean ประคบร้อน ผ่อนคลาย สลายปวด” ขึ้น โดยเน้นการนวด ประคบร้อนเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ร่วมกับการใช้กลิ่นบำบัดกดจุด และยังเพิ่มความสะดวกต่อการใช้ โดยผู้ป่วยสามารถใช้ชิ้นงานบรรเทาอาการปวดเมื่อยในขณะปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ สามารถใช้ได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ผลิตได้ง่ายเนื่องจากเน้นการใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่น รวมถึงลดข้อจำกัดในการใช้อุปกรณ์นำความร้อนจากการใช้เตาอบไมโครเวฟเพียงอย่างเดียว มาเป็นการคั่วเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงของคนในชุมชนตามไฟล์ที่แนบปัจจัยความสําเร็จ ปัญหา/อุปสรรค พร้อมแนวทางแก้ไข ปัจจัยความสำเร็จ คือ ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกในกลุ่มในการทำชิ้นงาน และคำแนะนำในการปรับปรุงนวัตกรรมจากกลุ่มเป้าหมาย ปัญหา/อุปสรรค คือ สภาพอากาศไม่อำนวย ระยะเวลาในการทำชิ้นงาน การนำไปใช้ และการพัฒนาชิ้นงานไม่ต่อเนื่องกัน การแก้ไข กระชับเวลาในการทำกิจกรรม ผลการประเมินจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการใช้นวัตกรรมบรรเทาอาการปวดเมื่อย - เจ้าหน้าที่ “ใช้แล้วรู้สึกอุปกรณ์หาง่าย ทำได้สะดวก สามารถใช้ได้จริง ๆ อาการปวดลดลง” - กลุ่มเป้าหมาย “รู้สึกผ่อนคลาย สบาย รู้ปวดเมื่อยลดน้อยลง” “รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น ใช้แล้วทำกิจวัตรประจำวันได้” “ใส่แล้วทำงานได้ ความร้อนกำลังอุ่นพอดี” View
1ถุงเท้ากันน้ำ ป้องกันการติดเชื้อของแผลในผู้ป่วยเบาหวาน2563-10-31จากการศึกษาค้นคว้างานวิชาการที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าส่วนใหญ่มีการติดเชื้อจนส่งผลให้มีการตัดขาตามมา ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการดูแลแผลที่ไม่เหมาะสม และจากการได้ลงฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนในหมู่ 11 ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช1. ประชุมวางแผน หารือแนวทางการดำเนินการ 2. ประสานผู้นำชุมชนในการทำเวทีประชาคมผู้ป่วยเบาหวานทุคนที่ยังไม่เกิดแผลที่เท้าใช้นวัตกรรมถุงเท้ากันน้ำแล้วไม่เกิดแผลที่เท้า ผู้เข้าร่วมโครงงานมีความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมในการดูแลเท้าเพื่อป้องกันแผลและ แผลติดเชื้อ ร้อยละ 100View
8กระเป๋ากันลืม2563-11-11จากการศึกษาพบว่า การใช้รูปแบบการติดตามการกินยาของผู้สูงอายุโรคเบาหวานด้วย “ปฏิทินยา เบาหวาน” ทำให้ผู้สูงอายุ สามารถรับประทานยาได้ถูกต้อง คือ ถูกขนาด ถูกเวลา ได้รับยาครบตามแผนการ รักษาของแพทย์ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ปฏิทินยาเบาหวาน มีความพึงพอใจในระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91 อย่างไรก็ตาม ปฏิทินยาเบาหวานยังมีข้อเสนอแนะที่สามารถนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้นดังนี้ โดยนำ ตัวเลขและสัญลักษณ์รูปภาพใหม่ พร้อมขนาดตัวอักษรที่ใหญ่ขึ้น แสดงมื้อของการรับประทานยาของผู้ป่วย (เช้า- กลางวัน-เย็น-ก่อนนอน) มาปรับใช้บนฉลากยา เพิ่มความเข้าใจมากยิ่งขึ้น และเลือกใช้สีพื้นหลัง ฉลากยาให้มองเห็นได้ชัดเจนขึ้น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นทางคณะผู้จัดทำจึงเห็นความสำคัญของการรับประทานอย่างมีประสิทธิภาพ คือตรงตามแผนการรักษา จึง ได้คิดค้นนวัตกรรม กระเป๋ายากันลืม เพื่อให้การรับประทานยาโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการดำเนินงาน PDCA - ตามไฟล์ที่แนบตามไฟล์ที่แนบView